การวิเคราะห์โครงสร้างหน่วยการจัดประสบการณ์ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐

                                   หน่วยที่ ๓ ตัวเรา ชั้นอนุบาลปีที่ ๑-๓ ภาคเรียนที่ ๑

รายการ

อนุบาลปีที่ ๑

อนุบาลปีที่ ๒

อนุบาลปีที่ ๓

สาระที่ควรเรียนรู้

๑. การดูแลสุขภาพอนามัย

๒. ชื่อและความสำคัญอวัยวะภายนอกของร่างกาย

๓. การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง ๕

๔. การดูแลรักษาและป้องกันอันตราย

๕. การรักษาความสะอาดร่างกาย

การแปรงฟัน

๑. การดูแลสุขภาพอนามัย

๒. ความแตกต่างของเพศชาย เพศหญิง

๓. หน้าที่และความสำคัญของอวัยวะต่าง ๆ

๔. การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง ๕

๕. การดูแลรักษาและป้องกันอันตราย

๖. การรักษาความสะอาดร่างกาย

การแปรงฟัน

๗. การปฏิบัติตนให้มีร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง

๑. การดูแลสุขภาพอนามัย การปฏิบัติตนให้มี

พลานามัยที่ดี โดยใช้ภาพ สุขบัญญัติ ๑๐

ประการ

๒. การดูแลรักษาตนเองในการแปรงฟันอย่างถูกวิธี

๓. การดูแลรักษาและป้องกันอันตรายของอวัยวะ

๔. ชื่ออวัยวะและความสำคัญของอวัยวะนั้น

๕. หน้าที่ของอวัยวะของร่างกาย

๖. การปฐมพยาบาลเบื้องต้น

๗. การเปรียบเทียบและการเรียงลำดับความสูง-ต่ำ

๘. การจัดหมวดหมู่ภาพกับสัญลักษณ์อวัยวะต่าง ๆ

๙. การเรียงลำดับภาพเหตุการณ์กิจวัตรประจำวัน

มาตรฐาน

ตัวบ่งชี้

สภาพที่พึงประสงค์

มาตรฐานที่ ๑ ตบช ๑.๑ (๑.๑.๑)

ตบช ๑.๓ (๑.๓.๑)

มาตรฐานที่ ๒ ตบช ๒.๑ (๒.๑.๑)

ตบช ๒.๒ (๒.๒.๑)

มาตรฐานที่ ๔ ตบช ๔.๑ (๔.๑.๑) (๔.๑.๓)

มาตรฐานที่ ๕ ตบช ๕.๒ (๕.๒.๑)

มาตรฐานที่ ๘ ตบช ๘.๒ (๘.๒.๑)

ตบช ๘.๓ (๘.๓.๒)

มาตรฐานที่ ๙ ตบช ๙.๒ (๙.๒.๒)

มาตรฐานที่ ๑๐ ตบช ๑๐.๑ (๑๐.๑.๒)

(๑๐.๑.๓)

มาตรฐานที่ ๑ ตบช ๑.๑ (๑.๑.๑)

ตบช ๑.๓ (๑.๓.๑)

มาตรฐานที่ ๒ ตบช ๒.๑ (๒.๑.๑)

ตบช ๒.๒ (๒.๒.๑)

มาตรฐานที่ ๔ ตบช ๔.๑ (๔.๑.๑) (๔.๑.๓)

มาตรฐานที่ ๕ ตบช ๕.๒ (๕.๒.๑)

มาตรฐานที่ ๘ ตบช ๘.๒ (๘.๒.๑)

ตบช ๘.๓ (๘.๓.๒)

มาตรฐานที่ ๙ ตบช ๙.๒ (๙.๒.๒)

มาตรฐานที่ ๑๐ ตบช ๑๐.๑ (๑๐.๑.๑)

(๑๐.๑.๒) (๑๐.๑.๔)

ตบช ๑๐.๒ (๑๐.๒.๑)

มาตรฐานที่ ๑ ตบช ๑.๑ (๑.๑.๑)

ตบช ๑.๓ (๑.๓.๑)

มาตรฐานที่ ๒ ตบช ๒.๑ (๒.๑.๑)

ตบช ๒.๒ (๒.๒.๑)

มาตรฐานที่ ๔ ตบช ๔.๑ (๔.๑.๑) (๔.๑.๓)

มาตรฐานที่ ๕ ตบช ๕.๒ (๕.๒.๑)

มาตรฐานที่ ๘ ตบช ๘.๒ (๘.๒.๑)

ตบช ๘.๓ (๘.๓.๒

มาตรฐานที่ ๙ ตบช ๙.๒ (๙.๒.๒)

มาตรฐานที่ ๑๐ ตบช ๑๐.๑ (๑๐.๑.๑)

(๑๐.๑.๒) (๑๐.๑.๔)

ตบช ๑๐.๒ (๑๐.๒.๑)



การวางแผนกิจกรรมรายหน่วยการจัดประสบการณ์

ชั้นอนุบาลปีที่ ๓ หน่วยตัวเรา

วันที่

กิจกรรม

เคลื่อนไหวและจังหวะ

เสริมประสบการณ์

ศิลปะสร้างสรรค์

การเล่นตามมุม

การเล่นกลางแจ้ง

เกมการศึกษา

-เคลื่อนไหวเคลื่อนที่

ประกอบเพลงร่างกาย

ของเรา

-เคลื่อนไหวโดยการ

ควบคุมตนเองไปใน

ทิศทาง ระดับ และพื้นที่

-สำรวจอวัยวะของ

ตนเองและเพื่อน

-บอกชื่ออวัยวะและ

ความสำคัญของอวัยวะนั้น ๆ

-เปรียบเทียบความ

แตกต่างของอวัยวะ

ร่างกาย

-ปั้นดินน้ำมัน

-วาดภาพตัวเราพร้อม

เขียนชื่อตนเอง

-เล่นตามมุม

ประสบการณ์ (เล่นเสรี)

-มุมธรรมชาติศึกษา

(หุ่นจำลองอวัยวะ)

-เล่นเครื่องเล่นสนาม

-เกมเรียงลำดับภาพสูง-ต่ำ

-การปฏิบัติตนเป็นผู้นำ

ผู้ตาม

-เรียนรู้หน้าที่ของ

อวัยวะของร่างกาย

-บอกประโยชน์ของ

อวัยวะของร่างกาย

- การวาดภาพ ตัวเรา

บนกระดาษบรู๊ฟ (กลุ่ม)

-เล่นตามมุม

ประสบการณ์

ในห้องเรียน

-การเล่นเกมพาบอล

ลงตะกร้า

-เกมจัดหมวดหมู่ภาพ

คนกับเครื่องแต่งกาย

-การทำท่าทางตาม

จินตนาการ

-เด็กฟังนิทานเกี่ยวกับ

การแปรงฟัน

-วิทยากรสาธิตการแปรงฟัน

-ปฏิบัติจริงการแปรงฟันอย่างถูกวิธี

–วาดรูปด้วยสีเทียน

- ตัดตุ๊กตาตัวเรา

-เล่นตามมุม

ประสบการณ์ (เล่น

เสรี) มุมใหม่คือมุมการแปรงฟันและล้างมือ

-การเดินต่อเท้าถอยหลัง

-เกมจัดหมวดหมู่ภาพ

กับสัญลักษณ์อวัยวะต่าง ๆ

 

 

วันที่

กิจกรรม

เคลื่อนไหวและจังหวะ

เสริมประสบการณ์

ศิลปะสร้างสรรค์

การเล่นตามมุม

การเล่นกลางแจ้ง

เกมการศึกษา

-การทำท่าทางประกอบ

เพลงเดิน- วิ่ง

-การดูแลรักษาและ

ป้องกันอันตรายของ

อวัยวะ

-แบ่งกลุ่มสังเกตชุดปฐมพยาบาลเบื้องต้น

-สาธิตการปฐมพยาบาลเบื้องต้น

–วาดรูปด้วยสีเทียน

-ภาพพิมพ์มือสร้างสรรค์

-เล่นตามมุม

ประสบการณ์ (เล่นเสรี)มุมใหม่คือมุมชุดปฐมพยาบาลเบื้องต้น

-การเล่นอุปกรณ์กีฬา

-เกมเรียงลำดับภาพ

การแต่งกาย

-การทำท่าทางประกอบ

อุปกรณ์ริบบิ้น

ท่องคำคล้องจอง

"เด็กน้อย”

-สนทนาเกี่ยวกับการ

ปฏิบัติตนให้มีลานามัย

ที่ดี โดยใช้ภาพ สุข

บัญญัติ ๑๐ ประการ

-ปั้นดินน้ำมัน

- การประดิษฐ์มือ

สร้างสรรค์

-เล่นตามมุม

ประสบการณ์

ในห้องเรียน

-การเล่นเดินบนไม้

กระดานแผ่นเดียว

-เกมเรียงลำดับภาพ

เหตุการณ์กิจวัตร

ประจำวัน


               แผนการจัดประสบการณ์รายวัน วันที่ ๑ หน่วยที่ ๓ ตัวเรา ชั้นอนุบาลปีที่ ๓

 

จุดประสงค์

การเรียนรู้

สาระการเรียนรู้

กิจกรรมการเรียนรู้

สื่อ

การประเมินพัฒนาการ

ประสบการณ์สำคัญ

สาระที่ควรเรียนรู้

กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ

แสดงท่าทาง

เคลื่อนไหวประกอบเพลงจังหวะ และดนตรี

ได้

(๑) การเคลื่อนไหวอยู่

กับที่

(๒) การเคลื่อนไหว

เคลื่อนที่

 

๑. กิจกรรมพื้นฐาน ให้เด็กเคลื่อนไหวร่างกายไป

ทั่วบริเวณอย่างอิสระตามจังหวะ เมื่อได้ยิน

สัญญาณ "หยุด " ให้หยุดเคลื่อนไหวในท่านั้นทันที

๒. ให้เด็กเคลื่อนไหวร่างกายโดยอิสระผ่าน

เสียงเพลงร่างกายของเรา โดยให้เด็กเคลื่อนไหว

โดยการควบคุมตนเองไปในทิศทาง ระดับ และ

พื้นที่ในห้องเรียน

๓. เด็กและครูร่วมกันปฏิบัติตามข้อ ๒ ซ้ำ

๒ – ๓ รอบ

เครื่องให้จังหวะ

สังเกต

การเคลื่อนไหวประกอบ

เพลง จังหวะและดนตรี

กิจกรรมเสริม

ประสบการณ์

๑. บอก อธิบาย

เกี่ยวกับชื่อและ

ความสัมพันธ์อวัยวะ

ภายนอกร่างกายได้

๒. จับคู่และ

เปรียบเทียบความ

แตกต่างหรือความ

เหมือนของอวัยวะได้

(๖) การพูด อธิบาย

เกี่ยวกับสิ่งของ

เหตุการณ์ และ

ความสัมพันธ์ของ

สิ่งต่าง ๆ

(๑๓) การเปรียบเทียบ

ตามลักษณะความสูง

๑. อวัยวะสำคัญของ

ร่างกายและหน้าที่ของอวัยวะ

๒. ลักษณะความ

แตกต่างของแต่ละคน

๑. เด็กและครูร่วมกันร้องเพลงและทำท่าประกอบ

เพลง"จับไวไว”

๒. เด็กและครูร่วมกันทบทวนชื่ออวัยวะสำคัญของร่างกายได้แก่ ตา หู จมูก ปาก มือ เท้า ผม เป็นต้น

๓. เด็กสำรวจอวัยวะของตนเองและเพื่อนในห้อง

โดยเด็กทำท่าทางตามจินตนาการ

๔. เด็กจับคู่กับเพื่อนแล้วเปรียบเทียบความ

แตกต่างของตนเองกับเพื่อนว่ามีอวัยวะในร่างกาย

อะไรที่เหมือนกันบ้างและมีอวัยวะในร่างกายอะไร

ที่ไม่เหมือนกันบ้าง

๕. ขออาสาสมัครเด็ก ๒ คนเด็กเปรียบเทียบ

ลักษณะส่วนต่าง ๆ ของร่างกายต่างกัน เหมือนกัน

๑. เพลง จับไวไว

๒. ตัวเด็ก

๓. บัตรคำอวัยวะ

สังเกต

๑. การบอกอธิบาย

เกี่ยวกับชื่อและ

ความสัมพันธ์อวัยวะ

ภายนอกร่างกาย

๒. การจับคู่และ

เปรียบเทียบความ

แตกต่างหรือความเหมือนของอวัยวะ

จุดประสงค์

การเรียนรู้

สาระการเรียนรู้

กิจกรรมการเรียนรู้

สื่อ

การประเมินพัฒนาการ

ประสบการณ์สำคัญ

สาระที่ควรเรียนรู้

 

 

 

อย่างไรบ้างให้เด็กบอกลักษณะที่สังเกตพบ ๒

ลักษณะขึ้นไป เปลี่ยนอาสาสมัครและปฏิบัติซ้ำ

๖. ขออาสาสมัครเด็ก ๓ คนยืนหน้าห้อง ให้เด็ก

ร่วมกันเรียงลำดับความสูง โดยขออาสาสมัคร

ออกมาเรียงลำดับ เปลี่ยนอาสาสมัครและปฏิบัติซ้ำ

๗. เด็กและครูร่วมกันสรุปอวัยวะต่าง ๆ ของ

ร่างกาย ความสำคัญของอวัยวะต่าง ๆ และความ

เหมือนความต่างระหว่างบุคคล

 

 

กิจกรรมศิลปะ

สร้างสรรค์

๑. สร้างผลงาน

ศิลปะเพื่อสื่อสาร

ความคิดความรู้สึกของ

ตนเองต่อผู้อื่นได้

๒. เขียนชื่อของ

ตนเองตามแบบ ได้

(๒) การเขียนภาพและการเล่นกับสี

(๑) การพูดสะท้อน

ความรู้สึกของตนเอง

และผู้อื่น

(๕) การทำกิจกรรม

ศิลปะต่าง ๆ

(๑๙) การเห็แบบอย่างของการเขียนที่ถูกต้อง

(๒๑) การเขียนคำที่มี

ความหมายกับตัวเด็ก/

คำคุ้นเคย

 

๑. ครูเตรียมอุปกรณ์กิจกรรม ๒ กิจกรรมได้แก่

ปั้นดินน้ำมัน, การวาดภาพ ตัวเราพร้อมเขียนชื่อ

ตนเอง

๒. ครูแนะนำกิจกรรมใหม่ "การวาดภาพตัวเราพร้อมเขียนชื่อตนเองตามแบบ”โดยให้เด็กวาดภาพตนเองและต่อเติมอวัยวะให้ร่างกายตนเอง

๓. เด็กเลือกทำกิจกรรม ๑-๒ กิจกรรม

๔. เด็กร่วมกันเก็บอุปกรณ์ และส่งผลงานพร้อม

เล่าผลงาน

๑. ดินน้ำมัน

๒. กระดาษวาดภาพ

๓. สีเทียน

สังเกต

๑. การสร้างผลงานศิลปะ

เพื่อสื่อสารความคิด

ความรู้สึกของตนเองต่อ

ผู้อื่น

๒. การเขียนชื่อของ

ตนเองตามแบบ

จุดประสงค์

การเรียนรู้

สาระการเรียนรู้

กิจกรรมการเรียนรู้

สื่อ

การประเมินพัฒนาการ

ประสบการณ์สำคัญ

สาระที่ควรเรียนรู้

กิจกรรมเล่นตามมุม

สามารถเลือกมุม

ประสบการณ์ตาม

ความสนใจและ

ความต้องการของ

ตนเองได้

(๑) การเล่นอิสระ

(๒) การเล่นรายบุคคล

กลุ่มย่อยและกลุ่มใหญ่

(๓) การเล่นตามมุม

ประสบการณ์/มุมเล่น

ต่าง ๆ

(๒) การเล่นและการ

ทำงานร่วมกับผู้อื่น

 

๑. เด็กเลือกกิจกรรมเล่นตามมุมประสบการณ์

ตามความสนใจ เช่น

- มุมธรรมชาติศึกษา - มุมหนังสือ

- มุมบล็อก - มุมเกมการศึกษา

- บทบาทสมมติ - มุมเครื่องเล่นสัมผัส

๒. เมื่อหมดเวลาเด็กเก็บของเข้าที่ให้เรียบร้อย

มุมประสบการณ์ใน

ห้องเรียน

สังเกต

การเลือกมุม

ประสบการณ์ตามความ

สนใจและความต้องการ

ของตนเองได้

กิจกรรมกลางแจ้ง

เล่นร่วมกับเด็ก

อื่นอย่างมีเป้าหมายได้

(๒) การเล่นรายบุคคล

กลุ่มย่อย กลุ่มใหญ่

 

๑.ครูแนะนำข้อตกลงในการเล่นเครื่องเล่นสนาม

แต่ละชนิดพร้อมทั้งแนะนำวิธีการเล่นอย่าง

ปลอดภัย

๒.เด็กเล่นเครื่องเล่นสนามโดยมีครูดูแลอย่างใกล้ชิด

๓.เมื่อครูให้สัญญาณหมดเวลาเด็กเข้าแถวและทำความสะอาดร่างกาย

เครื่องเล่นสนาม

สังเกต

การเล่นร่วมกับเด็กอื่น

เกมการศึกษา

เรียงลำดับความสูงได้อย่างน้อย ๕ ลำดับ

(๑๔) การบอกและ

เรียงลำดับกิจกรรม

หรือเหตุการณ์ตาม

ช่วงเวลา

การเรียงลำดับความสูง

๑. เด็กนับปากเปล่า ๑-๒๐ พร้อมกัน

๒. ครูแนะนำเกม๑เรียงลำดับภาพสูง-ต่ำ

๓. แบ่งเด็กเป็น ๖ กลุ่มโดยให้เด็กเลือกหัวหน้า

กลุ่มออกมารับเกมที่เคยเล่นแล้วและเกมเรียงลำดับภาพสูง - ต่ำ

๔. เด็กเล่นเกมโดยหมุนเวียนสลับเปลี่ยนกันในแต่ละกลุ่มโดยทุกกลุ่มได้เล่นเกมเรียงลำดับภาพสูง- ต่ำ

๕. ครูให้สัญญาณหมดเวลา เด็กเก็บเกมการศึกษา

เรียงลำดับภาพสูง-ต่ำ

สังเกต

การเล่นเกมเรียงลำดับ

ความสูง




ตัวเรา
สุขศึกษาและพลศึกษา อ.3 เปิดดู 28 ครั้ง

ช่องของ ครูณัฐริกา ภาพักดี

โรงเรียนโรงเรียนบ้านหนองเม็กห้วยทราย สพป.อุดรธานี เขต 1





ร่างกายของเรามีอวัยวะที่สำคัญและมีหน้าที่แตกต่างกัน ควรดูแลรักษาอวัยวะโดยการทำความสะอาดร่างกาย การแปรงฟัน และควรดูแลรักษาอวัยวะให้ปลอดภัยตลอดจนรักษาร่างกายให้มีสุขภาพอนามัยที่ดี



แสดงความคิดเห็น




ตัวเรา
ณัฐริกา ภาพักดี
สุขศึกษาและพลศึกษา... อ.3
เปิดดู 28 ครั้ง

OBEC PLAY Education Platform | Powered By Spirit Team