สระ

          สระ หมายถึง เครื่องหมายใช้แทนเสียงที่เปล่งออกมา ตามหลักภาษา ถือว่าพยัญชนะจำเป็นต้องอาศัยสระจึงจะออกเสียงได้

          รูปสระ สระในภาษาไทยนั้นเเปลกออกไปจากบาลี เเละสันสกฤต เเละภาษาอื่นๆ ที่ถ่ายเเบบมาด้วยกัน คือ ภาษาเหล่านั้นมีรูปสระเป็น 2 ชนิด ใช้ เขียนโดดๆ ชนิดหนึ่ง ใช้ประสมกับพยัญชนะอีกชนิดหนึ่ง เเต่ในภาษาไทยมีเเต่รูปสระ ที่ใช้ประสมกับพยัญชนะอย่างเดียว เมือ่ต้องการจะเขียนโดดๆก็เอาตัว อ ซึ่งจัดเป็นพยัญชนะมาประสมเข้า ออกเสียงเช่นเดียวกับสระเปล่า เช่น อา, อู, เอ, เป็นต้น เว้นเเต่สระ ฤ ฤา ฦ ฦา 4 ตัวนี้เขียนโดดๆก็ได้ ประสมกับพยัญชนะก็ได้ เช่นเดียวกับสระอังกฤษ เเละรูปสระนั้นบางทีก็ใช้ รูปเดียว เป็นสระหนึ่ง บางทีก็ใช้หลายรูปประสมกันเป็นสระหนึ่ง มีต่างๆกันเป็น 21 รูป

เมื่อเวลาออกเสียงสระ เช่น อะ อา เอะ เอ เอียะ เอีย จะออกเสียงแตกต่างกัน บางตัวออกเสียงสั้น บางตัวออกเสียงยาว บางตัวเหมือนมีสระสองเสียงกล้ำกัน ดังนั้น จึงจัดแบ่งเสียงสระเป็นพวกใหญ่ ๆ ได้ 5 พวกด้วยกัน คือ

สระเสียงสั้น ได้แก่ สระที่ออกเสียงสั้น คือ อะ อิ อึ อุ เอะ แอะ โอะ เอาะ เออะ เอียะ เอือะ อัวะ ฤ ฦ อำ ไอ ใอ เอา

สระเสียงยาว ได้แก่ สระที่ออกเสียงยาว คือ อา อี อื อู เอ แอ โอ ออ เออ เอีย เอือ อัว ฤๅ ฦๅ

สระเดี่ยว ได้แก่ สระที่เปล่งเสียงออกมาเป็นเสียงเดียว ไม่มีเสียงอื่นประสมมี 18 ตัวได้แก่ อะ อา อิ อี อึ อื อุ อู เอะ เอ แอะ แอ เออะ เออ โอะ โอ เอาะ ออ

สระประสม คือ สระที่มีเสียงสระเดี่ยว 2 ตัวประสมกัน มี 6 ตัวได้แก่

เอียะ เสียง อิ กับ อะ ประสมกัน

เอีย เสียง อี กับ อา ประสมกัน

เอือะ เสียง อึ กับ อะ ประสมกัน

เอือ เสียง อื กับ อา ประสมกัน

อัวะ เสียง อุ กับ อะ ประสมกัน

อัว เสียง อู กับ อา ประสมกัน

สระเกิน คือ สระที่มีเสียงซ้ำกับสระเดี่ยว ต่างกันก็แต่ว่าสระเกินจะมีเสียงพยัญชนะประสมหรือสะกดอยู่ด้วย มี 8 ตัว ได้แก่

ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ (รึ รือ ลึ ลือ) มีเสียงพยัญชนะ ร ล ประสมอยู่

อำ มีเสียง อะ และพยัญชนะ ม สะกด

ใอ ไอ มีเสียง อะ และพยัญชนะ ย สะกด (คือ อัย)

เอา มีเสียง อะ และพยัญชนะ ว สะกด


บางตำราถือว่าภาษาไทยมี 21 เสียง ทั้งนี้ คือไม่รวมสระเกินซึ่งถือว่าเป็นหน่วยเสียงในตัวเองโดยสมบูรณ์อยู่แล้ว และไม่รวมสระประสมเสียงสั้น คือ เอียะ เอือะ อัวะ เนื่องจากมีที่ใช้ในภาษาไทยน้อยมาก และส่วนใหญ่จะเป็นคำเลียนเสียงธรรมชาติซึ่งไม่ได้ใช้สื่อความหมายอื่น

การใช้สระ

สระอะ (-ะ) เขียนไว้หลังพยัญชนะ เมื่อนำมาประสมกับพยัญชนะ จะออกเสียงพยัญชนะนั้นประสมด้วยสระอะ เช่น กะ จะ ปะ

สระอา (-า) เขียนไว้หลังพยัญชนะ เมื่อนำมาประสมกับพยัญชนะ จะออกเสียงพยัญชนะนั้นประสมด้วยสระอา เช่น มา กา ตา

สระอิ (-ิ) เขียนไว้บนพยัญชนะ เมื่อนำมาประสมกับพยัญชนะ จะออกเสียงพยัญชนะนั้นประสมด้วยสระอิ เช่น บิ สิ มิ

สระอี (-ี) เขียนไว้บนพยัญชนะ เมื่อนำมาประสมกับพยัญชนะ จะออกเสียงพยัญชนะนั้นประสมด้วยสระอี เช่น ปี ดี มี

สระอึ (-ึ) เขียนไว้บนพยัญชนะ เมื่อนำมาประสมกับพยัญชนะ จะออกเสียงพยัญชนะนั้นประสมด้วยสระอึ เช่น หึ สึ

สระอื (-ื) เขียนไว้บนพยัญชนะ เมื่อนำมาประสมกับพยัญชนะ จะออกเสียงพยัญชนะนั้นประสมด้วยสระอื แต่การใช้สระอื ต้องมี อ มาประกอบด้วย เช่น มือ ถือ ลือ

สระอุ (-ุ) เขียนไว้ใต้พยัญชนะ เมื่อนำมาประสมกับพยัญชนะ จะออกเสียงพยัญชนะนั้นประสมด้วยสระอุ เช่น ผุ มุ ยุ

สระอู (-ู) เขียนไว้ใต้พยัญชนะ เมื่อนำมาประสมกับพยัญชนะ จะออกเสียงพยัญชนะนั้นประสมด้วยสระอู เช่น ดู รู งู

สระเอะ (เ-ะ) เขียนไว้ทั้งหน้าและหลังพยัญชนะ เมื่อนำมาประสมกับพยัญชนะ จะออกเสียงพยัญชนะนั้นประสมด้วยสระเอะ เช่น เละ เตะ เกะ

สระเอ (เ-) เขียนไว้หน้าพยัญชนะ เมื่อนำมาประสมกับพยัญชนะ จะออกเสียงพยัญชนะนั้นประสมด้วยสระเอ เช่น เก เซ เข

สระแอะ (แ-ะ) เขียนไว้ทั้งหน้าและหลังพยัญชนะ เมื่อนำมาประสมกับพยัญชนะ จะออกเสียงพยัญชนะนั้นประสมด้วยสระแอะ เช่น และ แพะ แกะ

สระแอ (แ-) เขียนไว้หน้าพยัญชนะ เมื่อนำมาประสมกับพยัญชนะ จะออกเสียงพยัญชนะนั้นประสมด้วยสระแอ เช่น แล แพ แก

สระเอียะ (เ-ียะ) เขียนไว้ทั้งหน้า บน และหลังพยัญชนะ เมื่อนำมาประสมกับพยัญชนะ จะออกเสียงพยัญชนะนั้นประสมด้วยสระเอียะ เช่น เผียะ เพียะ เกียะ

สระเอีย (เ-ีย) เขียนไว้ทั้งหน้าและหลังพยัญชนะ เมื่อนำมาประสมกับพยัญชนะ จะออกเสียงพยัญชนะนั้นประสมด้วยสระเอีย เช่น เสีย เลีย เปีย

สระเอือะ (เ-ือะ) เขียนไว้ทั้งหน้า บน และหลังพยัญชนะ

สระเอือ (เ-ือ) เขียนไว้ทั้งหน้า บน และหลังพยัญชนะ เมื่อนำมาประสมกับพยัญชนะ จะออกเสียงพยัญชนะนั้นประสมด้วยสระเอือ เช่น เสือ เรือ เจือ

สระอัวะ (-ัวะ) เขียนไว้บน และหลังพยัญชนะ เมื่อนำมาประสมกับพยัญชนะ จะออกเสียงพยัญชนะนั้นประสมด้วยสระอัวะ เช่น ผัวะ ยัวะ

สระอัว (-ัว) เขียนไว้บน และหลังพยัญชนะ เมื่อนำมาประสมกับพยัญชนะ จะออกเสียงพยัญชนะนั้นประสมด้วยสระอัว เช่น ตัว รัว หัว

สระโอะ (โ-ะ) เขียนไว้หน้า และหลังพยัญชนะ เมื่อนำมาประสมกับพยัญชนะ จะออกเสียงพยัญชนะนั้นประสมด้วยสระโอะ เช่น โปะ โละ แต่ถ้ามีตัวสะกด จะตัดสระโอะออกเหลือแต่พยัญชนะต้นกับตัวสะกด เรียกว่า สระโอะลดรูป เช่น คน รก จง

สระโอ (โ-) เขียนไว้หน้าพยัญชนะ เมื่อนำมาประสมกับพยัญชนะ จะออกเสียงพยัญชนะนั้นประสมด้วยสระโอ เช่น โต โพ โท

สระเอาะ (เ-าะ) เขียนไว้ทั้งหน้า และหลังพยัญชนะ เมื่อนำมาประสมกับพยัญชนะ จะออกเสียงพยัญชนะนั้นประสมด้วยสระเอาะ เช่น เลอะ เถอะ เจอะ

สระออ (-อ) เขียนไว้หลังพยัญชนะ เมื่อนำมาประสมกับพยัญชนะ จะออกเสียงพยัญชนะนั้นประสมด้วยสระออ เช่น ขอ รอ พอ

สระเออะ (เ-อะ) เขียนไว้ทั้งหน้า และหลังพยัญชนะ เมื่อนำมาประสมกับพยัญชนะ จะออกเสียงพยัญชนะนั้นประสมด้วยสระเออะ เช่น เลอะ เถอะ เจอะ

สระเออ (เ-อ) เขียนไว้ทั้งหน้า และหลังพยัญชนะ เมื่อนำมาประสมกับพยัญชนะ จะออกเสียงพยัญชนะนั้นประสมด้วยสระเออ เช่น เจอ เธอ เรอ ถ้ามี ย สะกด จะตัด อ ออกแล้วตามด้วย ย เลย เช่น เขย เกย เฉย เรียกว่า สระเออลดรูป ถ้ามีตัวสะกดอื่น ๆ ที่ไม่ใช้ ย จะเปลี่ยน อ เป็นสระอิ เช่น เกิด เลิก เงิน เรียกว่า สระเออเปลี่ยนรูป

สระอำ (-ำ) เขียนไว้บนและหลังพยัญชนะ เมื่อนำมาประสมกับพยัญชนะ จะออกเสียงพยัญชนะนั้นประสมด้วยสระอำ เช่น รำ ทำ จำ

สระใอ (ใ-) เขียนไว้หน้าพยัญชนะ เมื่อนำมาประสมกับพยัญชนะ จะออกเสียงพยัญชนะนั้นประสมด้วยสระใอ มีทั้งหมด 20 คำ ได้แก่ ใกล้ ใคร ใคร่ ใจ ใช่ ใช้ ใด ใต้ ใน ใบ้ ใฝ่ ใย สะใภ้ ใส ใส่ ให้ ใหม่ ใหล ใหญ่ หลงใหล ใหญ่

สระไอ (ไ-) เขียนไว้หน้าพยัญชนะ เมื่อนำมาประสมกับพยัญชนะ จะออกเสียงพยัญชนะนั้นประสมด้วยสระไอ เช่น ไป ไซ ไส ใช้กับคำที่มาจากภาษาอังกฤษ เช่น ไกด์ ไมล์ สไลด์ ใช้กับคำที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤตที่แผลงสระอิเป็นสระไอ เช่น ตรี - ไตร ใช้กับคำที่มาจากภาษาเขมร เช่น สไบ

สระเอา (เ-า) เขียนไว้หน้าและหลังพยัญชนะ เมื่อนำมาประสมกับพยัญชนะ จะออกเสียงพยัญชนะนั้นประสมด้วยสระเอา เช่น เกา เผา เรา

วย ย เลย เช่น เขย เกย เฉย เรียกว่า สระเออลดรูป ถ้ามีตัวสะกดอื่น ๆ ที่ไม่ใช้ ย จะเปลี่ยน อ เป็นสระอิ เช่น เกิด เลิก เงิน เรียกว่า สระเออเปลี่ยนรูป
สระอำ (-ำ) เขียนไว้บนและหลังพยัญชนะ เมื่อนำมาประสมกับพยัญชนะ จะออกเสียงพยัญชนะนั้นประสมด้วยสระอำ เช่น รำ ทำ จำ
สระใอ (ใ-) เขียนไว้หน้าพยัญชนะ เมื่อนำมาประสมกับพยัญชนะ จะออกเสียงพยัญชนะนั้นประสมด้วยสระใอ มีทั้งหมด 20 คำ ได้แก่ ใกล้ ใคร ใคร่ ใจ ใช่ ใช้ ใด ใต้ ใน ใบ้ ใฝ่ ใย สะใภ้ ใส ใส่ ให้ ใหม่ ใหล ใหญ่ หลงใหล ใหญ่
สระไอ (ไ-) เขียนไว้หน้าพยัญชนะ เมื่อนำมาประสมกับพยัญชนะ จะออกเสียงพยัญชนะนั้นประสมด้วยสระไอ เช่น ไป ไซ ไส ใช้กับคำที่มาจากภาษาอังกฤษ เช่น ไกด์ ไมล์ สไลด์ ใช้กับคำที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤตที่แผลงสระอิเป็นสระไอ เช่น ตรี - ไตร ใช้กับคำที่มาจากภาษาเขมร เช่น สไบ
สระเอา (เ-า) เขียนไว้หน้าและหลังพยัญชนะ เมื่อนำมาประสมกับพยัญชนะ จะออกเสียงพยัญชนะนั้นประสมด้วยสระเอา เช่น เกา เผา เรา

สระในภาษาไทย(บทความ)
ภาษาไทย ป.1 เปิดดู 37 ครั้ง

ช่องของ ครูวรกัญญา ขิปวัติ

โรงเรียนโรงเรียนโคกโพธิ์วิทยา สพป.อุดรธานี เขต 1







แสดงความคิดเห็น




การฝึกอ่านคำ สระเออ
สิริธร หนองแสง
ภาษาไทย... ป.1
เปิดดู 41 ครั้ง
บทที่1ใบโบก
พิชชาพร ศรีสิงห์
ภาษาไทย... ป.1
เปิดดู 29 ครั้ง
เพลงก เอ๋ย ก ไก่แบบดั้งเดิม
ธัญญรัตน์ สีหาวงค์
ภาษาไทย... ป.1
เปิดดู 2 ครั้ง
การอ่านออกเสียงพยัญชนะไทย
นางเยาวพา สร้อยกุดเรือ
ภาษาไทย... ป.1
เปิดดู 55 ครั้ง
สระอาอีอู
ชรินรัตน์ พละสาร
ภาษาไทย... ป.1
เปิดดู 38 ครั้ง
มาตราตัวสะกดแม่กง
เดือนแรม จิตวิขาม
ภาษาไทย... ป.1
เปิดดู 72 ครั้ง
เรียนรู้เรื่องสระอัว
ปัถวี แก้วฤาชัย
ภาษาไทย... ป.1
เปิดดู 47 ครั้ง
ภาษาไทย ป. 1
ยุวดี ทุมมนตรี
ภาษาไทย... ป.1
เปิดดู 49 ครั้ง
สระในภาษาไทย
กรแก้ว นาคเจริญ
ภาษาไทย... ป.1
เปิดดู 54 ครั้ง
สระเอา
ชรินรัตน์ พละสาร
ภาษาไทย... ป.1
เปิดดู 45 ครั้ง
ใบความรู้ วิชาภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 การ
ยุภา วงษาวัตร์
ภาษาไทย... ป.1
เปิดดู 28 ครั้ง
ฝึกอ่านประสมสระ อา l พื้นฐานการสะกดคำ l พร้อมเก
ทำเพียร ชุมพล
ภาษาไทย... ป.1
เปิดดู 38 ครั้ง
ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 หน่วยที่ 1 พยัญชน
ปิโยรส เดชาเลิศ
ภาษาไทย... ป.1
เปิดดู 90 ครั้ง
บัญชีคำพื้นฐาน ป.1
กรวรรณ ไกรพินิจ
ภาษาไทย... ป.1
เปิดดู 34 ครั้ง
การละเล่นเด็กไทย
ชรินรัตน์ พละสาร
ภาษาไทย... ป.1
เปิดดู 43 ครั้ง
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องรู้จักคำนำเรื่อง
สาวิตรี ชาติคำ
ภาษาไทย... ป.1
เปิดดู 31 ครั้ง
บทที่๑ ใบโบก ใบบัว
สาวิตรี ชาติคำ
ภาษาไทย... ป.1
เปิดดู 45 ครั้ง
คำสระอา ประสมตัวสะกด ป.1
กรวรรณ ไกรพินิจ
ภาษาไทย... ป.1
เปิดดู 52 ครั้ง
มาตราตัวสะกด
วิลาสินี ขอดเมชัย
ภาษาไทย... ป.1
เปิดดู 44 ครั้ง
เรียนรู้สระในภาษาไทย
วรกัญญา ขิปวัติ
ภาษาไทย... ป.1
เปิดดู 37 ครั้ง
พยัญชนะในภาษาไทย วิชาภาษาไทย
พัฒชรินทร์ บุตรธนู
ภาษาไทย... ป.1
เปิดดู 43 ครั้ง
อักษรนำ
วิลาสินี ขอดเมชัย
ภาษาไทย... ป.1
เปิดดู 48 ครั้ง
ร้องเล่นแสนสนุก
พรทิพย์ บุญเรือง
ภาษาไทย... ป.1
เปิดดู 26 ครั้ง
แบบทดสอบพยัญชนะไทย
ธัญญรัตน์ สีหาวงค์
ภาษาไทย... ป.1
เปิดดู 2 ครั้ง
บัญชีคำพื้นฐาน ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ชุดที่ ๑
สิริธร หนองแสง
ภาษาไทย... ป.1
เปิดดู 35 ครั้ง
นิทาน เศรษฐีกับสาวน้อย
โยธกา เกษรัตน์
ภาษาไทย... ป.1
เปิดดู 37 ครั้ง
สระในภาษาไทย(บทความ)
วรกัญญา ขิปวัติ
ภาษาไทย... ป.1
เปิดดู 37 ครั้ง
ใบโบกใบบัว เนื้อเรื่อง
สาวิตรี ชาติคำ
ภาษาไทย... ป.1
เปิดดู 47 ครั้ง
การจัดการเรียนการสอนรายวิชาภาษาไทย
ธงชัย พละสาร
ภาษาไทย... ป.1
เปิดดู 62 ครั้ง
อักษรนำ
สุภาพร สมบูรณ์
ภาษาไทย... ป.1
เปิดดู 37 ครั้ง
โรงเรียนลูกช้าง
เมขลา บุญสงค์
ภาษาไทย... ป.1
เปิดดู 38 ครั้ง
การเขียนตัวอักษร ก-ฮ
กรวรรณ ไกรพินิจ
ภาษาไทย... ป.1
เปิดดู 40 ครั้ง
กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องสระเอา
ชรินรัตน์ พละสาร
ภาษาไทย... ป.1
เปิดดู 47 ครั้ง
การอ่านคำสระเอ
พิชชาพร ศรีสิงห์
ภาษาไทย... ป.1
เปิดดู 36 ครั้ง
การอ่านใบโบก ใบบัว
สิริธร หนองแสง
ภาษาไทย... ป.1
เปิดดู 40 ครั้ง
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องมาตราตัวสะกด
เดือนแรม จิตวิขาม
ภาษาไทย... ป.1
เปิดดู 31 ครั้ง
ภาษาพาที ป.1
วิลาสินี ขอดเมชัย
ภาษาไทย... ป.1
เปิดดู 35 ครั้ง
ใบงาน ภาษาไทย
พรทิพย์ บุญเรือง
ภาษาไทย... ป.1
เปิดดู 40 ครั้ง
ลักษณะนาม
ปรารถนา สมอ่อน
ภาษาไทย... ป.1
เปิดดู 35 ครั้ง
ประสมคำสระเอีย
พรทิพย์ บุญเรือง
ภาษาไทย... ป.1
เปิดดู 29 ครั้ง
บทความ
วิลาสินี ขอดเมชัย
ภาษาไทย... ป.1
เปิดดู 26 ครั้ง
สระภาษาไทย
วรกัญญา ขิปวัติ
ภาษาไทย... ป.1
เปิดดู 30 ครั้ง
สระเอีย
ชรินรัตน์ พละสาร
ภาษาไทย... ป.1
เปิดดู 30 ครั้ง
พยัญชนะไทย
นภาพร เทศประสิทธิ์
ภาษาไทย... ป.1
เปิดดู 40 ครั้ง
ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 เรื่อง สระโอะลดรู
ปิโยรส เดชาเลิศ
ภาษาไทย... ป.1
เปิดดู 45 ครั้ง
สระภาษาไทย สระเอีย
วรกัญญา ขิปวัติ
ภาษาไทย... ป.1
เปิดดู 36 ครั้ง
อักษรนำ
สิริธร หนองแสง
ภาษาไทย... ป.1
เปิดดู 34 ครั้ง
การอ่านสะกดคำ
พรทิพย์ บุญเรือง
ภาษาไทย... ป.1
เปิดดู 40 ครั้ง
ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 หน่วยที่ 1 พยัญชน
ทำเพียร ชุมพล
ภาษาไทย... ป.1
เปิดดู 35 ครั้ง
ใบความรู้เรื่อง พยัญชนะไทย
ทำเพียร ชุมพล
ภาษาไทย... ป.1
เปิดดู 43 ครั้ง

OBEC PLAY Education Platform | Powered By Spirit Team