แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 รายวิชาวิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว 14101 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การจำแนกสิ่งมีชีวิตรอบตัว หน่วยย่อยที่ 1 การจำแนกสิ่งมีชีวิต แผนการจัดกำรเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการจำแนกพืชดอก (3) เวลา 1 ชั่วโมง 1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด สาระที่ 1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ มาตรฐาน ว 1.3 เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สารพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพวิวัฒนาการ ของสิ่งมีชีวิตรวมทั้งนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตัวชี้วัด ป.4/2 จำแนกพืชออกเป็นพืชดอกและพืชไม่มีดอกโดยใช้การมีดอกเป็นเกณฑ์ โดยใช้ข้อมูล ที่รวบรวมได้ 2. จุดประสงค์การเรียนรู้
3. สาระสำคัญ สิ่งมีชีวิตมีหลายชนิด ซึ่งแต่ละชนิดมีลักษณะบางอย่างที่เหมือนกัน เมื่อจำแนกสิ่งมีชีวิต โดยใช้การ เคลื่อนที่และการสร้างอาหารเป็นเกณฑ์ จะจำแนกสิ่งมีชีวิตได้เป็นกลุ่มสัตว์ กลุ่มพืช และกลุ่มที่ไม่ใช่พืช ไม่ใช่สัตว์ ในการจำแนกสัตว์ถ้าใช้เกณฑ์การมีกระดูกสันหลัง จะจำแนกได้เป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มสัตว์ที่มีกระดูก สันหลังและกลุ่มสัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลัง โดยกลุ่มสัตว์มีกระดูกสันหลังสามารถจำแนกได้เป็น 5 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มปลา กลุ่มสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก กลุ่มสัตว์เลื้อยคลาน กลุ่มสัตว์ปีก และกลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม และ ในการจำแนกพืช ถ้าใช้การมีดอกเป็นเกณฑ์ จะจำแนกได้เป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มพืชมีดอกและกลุ่มพืชไม่มีดอก 4. สาระการเรียนรู้ ความรู้ สิ่งมีชีวิตมีหลายชนิด ซึ่งแต่ละชนิดมีลักษณะบางอย่างที่เหมือนกัน เช่น การสืบพันธุ์ การเจริญเติบโต การหายใจ และลักษณะบางอย่างแตกต่างกัน จึงสามารถใช้ลักษณะเหล่านี้มาเป็นเกณฑ์ในการจำแนกได้ เมื่อจำแนกสิ่งมีชีวิต โดยใช้การเคลื่อนที่และการสร้างอาหารเป็นเกณฑ์ จะจำแนกสิ่งมีชีวิตได้เป็นกลุ่มสัตว์ กลุ่มพืช และกลุ่มที่ไม่ใช่พืช ไม่ใช่สัตว์ ในการจำแนกสัตว์ถ้าใช้เกณฑ์การมีกระดูกสันหลัง จะจำแนกได้เป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มสัตว์ที่มีกระดูกสันหลังและกลุ่มสัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลัง โดยกลุ่มสัตว์มีกระดูกสันหลังสามารถ จาแนกได้เป็น 5 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มปลา กลุ่มสัตว์สะเทินน้าสะเทินบก กลุ่มสัตว์เลื้อยคลาน กลุ่มสัตว์ปีก และ กลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ซึ่งสัตว์ในแต่ละกลุ่มจะมีลักษณะเฉพาะที่แตกต่างกัน จึงสามารถใช้ลักษณะเหล่านี้ นามาเป็นเกณฑ์ในการจำแนก และในการจำแนกพืช ถ้าใช้การมีดอกเป็นเกณฑ์ จะจำแนกได้เป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มพืชมีดอกและกลุ่มพืชไม่มีดอก ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ - 5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการคิด
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
7. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำเข้ำสู่บทเรียน (5 นำที) 1. ครูทบทวนการจำแนกพืชโดยให้นักเรียนสังเกตรูปจากใบงาน 02 แบบฝึกหัดเรื่องการจำแนกพืช แล้วใช้คำถามดังต่อไปนี้ 1.1 พืชในกลุ่มที่ 1 และกลุ่มที่ 2 แตกต่างกันอย่างไร (พืชในกลุ่มที่ 1 ไม่มีดอก ส่วนพืชในกลุ่มที่ 2 มีดอก) 1.2 จากการจำแนกพืชกลุ่มที่ 1 และกลุ่มที่ 2 ออกจากกัน นักเรียนคิดว่าใช้อะไรเป็นเกณฑ์ ในการจาแนก (ใช้การมีดอกเป็นเกณฑ์) ขั้นสอน (45 นำที) 2. นักเรียนทำใบงาน 02 แบบฝึกหัดเรื่องการจำแนกพืช หน้า 36 3. ครูทบทวนความรู้เกี่ยวกับการจำแนกสิ่งมีชีวิต การจำแนกสัตว์ และการจำแนกพืช โดยใช้ ผังความคิด และร่วมกันอภิปรายโดยใช้คาถามดังนี้ 3.1 เราใช้เกณฑ์อะไรในการจำแนกสิ่งมีชีวิต และจำแนกได้กี่กลุ่ม อะไรบ้าง (ใช้การสร้างอาหาร และการเคลื่อนที่เป็นเกณฑ์ จะจำแนกได้ 3 กลุ่มคือ กลุ่มพืช กลุ่มสัตว์ และกลุ่มที่ไม่ใช่พืช ไม่ใช่สัตว์) 3.2 เราใช้เกณฑ์อะไรในการจำแนกสัตว์ และจำแนกได้กี่กลุ่ม อะไรบ้าง (ใช้การมีกระดูกสันหลัง เป็นเกณฑ์จะจำแนกได้ 2 กลุ่ม คือ กลุ่มสัตว์มีกระดูกสันหลังและกลุ่มสัตว์ไม่มีกระดูก สันหลัง) 3.3 เราใช้เกณฑ์อะไรในการจำแนกกลุ่มสัตว์มีกระดูกสันหลัง จำแนกได้กี่กลุ่ม อะไรบ้าง (ใช้ลักษณะเฉพาะเป็นเกณฑ์ จำแนกได้ 5 กลุ่มได้แก่ กลุ่มปลา กลุ่มสัตว์ปีก กลุ่มสัตว์เลื้อยคลาน กลุ่มสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก และกลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม) 3.4 เราใช้เกณฑ์อะไรในการจำแนกพืช และจำแนกได้กี่กลุ่ม อะไรบ้าง (ใช้การมีดอกเป็นเกณฑ์ จะจำแนกได้ 2 กลุ่ม คือ กลุ่มพืชมีดอกและกลุ่มพืชไม่มีดอก) ขั้นสรุป (10 นำที) 4. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสรุปแนวคิดหรือสิ่งที่ได้เรียนรู้ในชั่วโมงนี้เกี่ยวกับการจำแนกสิ่งมีชีวิต ออกเป็นกลุ่ม 5. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการจำแนกสิ่งมีชีวิตออกเป็นกลุ่มอีกครั้งว่า สิ่งมีชีวิตมีหลายชนิด ซึ่งแต่ละชนิดมีลักษณะบางอย่างที่เหมือนกัน เช่น การสืบพันธุ์ การเจริญเติบโต การหายใจ และ ลักษณะบางอย่างแตกต่างกัน เมื่อจำแนกสิ่งมีชีวิต โดยใช้การเคลื่อนที่และการสร้างอาหารเป็น เกณฑ์ จะจำแนกสิ่งมีชีวิตได้เป็นกลุ่มสัตว์ กลุ่มพืช และกลุ่มที่ไม่ใช่พืชไม่ใช่สัตว์ ในการจำแนกสัตว์ ถ้าใช้เกณฑ์การมีกระดูกสันหลัง จะจำแนกได้เป็น 2 กลุ่มคือ กลุ่มสัตว์มีกระดูกสันหลัง และสัตว์ไม่มี กระดูกสันหลัง โดยกลุ่มสัตว์มีกระดูกสันหลังสามารถจำแนกได้เป็น 5 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มปลา กลุ่มสัตว์ปีก กลุ่มสัตว์เลื้อยคลาน กลุ่มสัตว์สะเทินน้าสะเทินบกและกลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม และ ในการจำแนกพืช หากใช้การมีดอกเป็นเกณฑ์ จะจำแนกได้เป็น 2 กลุ่มคือ กลุ่มพืชมีดอกและกลุ่ม พืชไม่มีดอก 8. สื่อ/แหล่งเรียนรู้ 8.1 ใบงาน 02 แบบฝึกหัด เรื่องการจำแนกพืช หน้า 36 9. ชิ้นงาน/ภาระงาน 9.1 การทำใบงาน 02 แบบฝึกหัด เรื่องการจำแนกพืช หน้า 36 9.2 การทำแบบทดสอบท้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 10. การวัดและประเมินผล 10.1 ประเมินความรู้เรื่องการจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตด้วยการตอบคำถามในใบงาน (K) 10.2 ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้วยแบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
|
|
แสดงความคิดเห็น
![]() |
นที ปัชชาเขียว วิทยาศาสตร์และเทคโ... ป.4 เปิดดู 80 ครั้ง |
![]() |
ประยงค์ กลิ่นหอมอ่อน วิทยาศาสตร์และเทคโ... ป.4 เปิดดู 35 ครั้ง |
![]() |
อิสราวรรณ ปราบพาล วิทยาศาสตร์และเทคโ... ป.4 เปิดดู 31 ครั้ง |
![]() |
ลฎาภา พรมพิมพ์ วิทยาศาสตร์และเทคโ... ป.4 เปิดดู 41 ครั้ง |
![]() |
หทัย สมมี วิทยาศาสตร์และเทคโ... ป.4 เปิดดู 33 ครั้ง |
![]() |
ประยงค์ กลิ่นหอมอ่อน วิทยาศาสตร์และเทคโ... ป.4 เปิดดู 36 ครั้ง |
![]() |
ณัฐฐิรา กิ่งมิ่งแฮ วิทยาศาสตร์และเทคโ... ป.4 เปิดดู 34 ครั้ง |
![]() |
ลฎาภา พรมพิมพ์ วิทยาศาสตร์และเทคโ... ป.4 เปิดดู 38 ครั้ง |
![]() |
อนงค์ศรี สมบัติมี วิทยาศาสตร์และเทคโ... ป.4 เปิดดู 44 ครั้ง |
![]() |
Sunisa Chawpracha วิทยาศาสตร์และเทคโ... ป.4 เปิดดู 38 ครั้ง |
![]() |
วีรภัทร สารพัฒน์ วิทยาศาสตร์และเทคโ... ป.4 เปิดดู 30 ครั้ง |
![]() |
ดารารัตน์ หอมทรัพย์ วิทยาศาสตร์และเทคโ... ป.4 เปิดดู 30 ครั้ง |
![]() |
ดารารัตน์ หอมทรัพย์ วิทยาศาสตร์และเทคโ... ป.4 เปิดดู 32 ครั้ง |
![]() |
เนตรนภิส ตันเทอดทิตย์ วิทยาศาสตร์และเทคโ... ป.4 เปิดดู 49 ครั้ง |
![]() |
วิภาวดี อ่วมงามทรัพย์ วิทยาศาสตร์และเทคโ... ป.4 เปิดดู 32 ครั้ง |
![]() |
ลฎาภา พรมพิมพ์ วิทยาศาสตร์และเทคโ... ป.4 เปิดดู 39 ครั้ง |
![]() |
ทวีศักดิ์ ธาตุชัย วิทยาศาสตร์และเทคโ... ป.4 เปิดดู 72 ครั้ง |
![]() |
ณัฐพร เหมุทัย วิทยาศาสตร์และเทคโ... ป.4 เปิดดู 49 ครั้ง |
![]() |
คมสันต์ สุขไมตรี วิทยาศาสตร์และเทคโ... ป.4 เปิดดู 50 ครั้ง |
![]() |
เทียรงาม สารบุญ วิทยาศาสตร์และเทคโ... ป.4 เปิดดู 34 ครั้ง |
![]() |
คมศักดิ์ แสนศรี วิทยาศาสตร์และเทคโ... ป.4 เปิดดู 30 ครั้ง |
![]() |
วิภาวดี อ่วมงามทรัพย์ วิทยาศาสตร์และเทคโ... ป.4 เปิดดู 35 ครั้ง |
![]() |
เทียรงาม สารบุญ วิทยาศาสตร์และเทคโ... ป.4 เปิดดู 44 ครั้ง |
![]() |
บัญชา ชวาลไชย วิทยาศาสตร์และเทคโ... ป.4 เปิดดู 32 ครั้ง |
![]() |
คมสัน เอียการนา วิทยาศาสตร์และเทคโ... ป.4 เปิดดู 32 ครั้ง |
![]() |
หทัย สมมี วิทยาศาสตร์และเทคโ... ป.4 เปิดดู 41 ครั้ง |
![]() |
ประยงค์ กลิ่นหอมอ่อน วิทยาศาสตร์และเทคโ... ป.4 เปิดดู 31 ครั้ง |
![]() |
วิภาวดี อ่วมงามทรัพย์ วิทยาศาสตร์และเทคโ... ป.4 เปิดดู 21 ครั้ง |
![]() |
ธิศวรรณ สุธน วิทยาศาสตร์และเทคโ... ป.4 เปิดดู 38 ครั้ง |
![]() |
เทียรงาม สารบุญ วิทยาศาสตร์และเทคโ... ป.4 เปิดดู 44 ครั้ง |
![]() |
วิภาพักตร์ อินทรักษา วิทยาศาสตร์และเทคโ... ป.4 เปิดดู 39 ครั้ง |
![]() |
คมสัน เอียการนา วิทยาศาสตร์และเทคโ... ป.4 เปิดดู 36 ครั้ง |
![]() |
วิภาพักตร์ อินทรักษา วิทยาศาสตร์และเทคโ... ป.4 เปิดดู 29 ครั้ง |
![]() |
เทียรงาม สารบุญ วิทยาศาสตร์และเทคโ... ป.4 เปิดดู 39 ครั้ง |
![]() |
คมสัน เอียการนา วิทยาศาสตร์และเทคโ... ป.4 เปิดดู 32 ครั้ง |
![]() |
อนงค์ศรี สมบัติมี วิทยาศาสตร์และเทคโ... ป.4 เปิดดู 30 ครั้ง |
![]() |
วิภาพักตร์ อินทรักษา วิทยาศาสตร์และเทคโ... ป.4 เปิดดู 48 ครั้ง |
![]() |
วิภาวดี อ่วมงามทรัพย์ วิทยาศาสตร์และเทคโ... ป.4 เปิดดู 38 ครั้ง |
![]() |
วิภาวดี อ่วมงามทรัพย์ วิทยาศาสตร์และเทคโ... ป.4 เปิดดู 41 ครั้ง |
OBEC PLAY Education Platform | Powered By Spirit Team